วันนี้อาจารย์ให้ทำแป้งโดว์ มีส่วนผสมดังนี้
เกลือ1/2ถ้วย
แป้งสาลี1ถ้วย
สารส้มป่น2 ก้อน
น้ำ1ถ้วย
น้ำมันพืช2ช้อนโต๊ะ
สีผสมอาหาร
น้ำมันมะกอก
วิธีทำ
นำแป้งสาลีมาผสมกับเกลือ สารส้มแล้วคนให้เข้ากัน แล้วเติมน้ำและน้ำมันทีละน้อย คนให้เข้ากันจากนั้นเติมสีผสมอาหารและน้ำมันมะกอก จากนั้นตั้งไฟแล้วนำไปนในกะทะ คนจนแป้งจับกันเป็นเนื้อเดียว แล้วไม่ติดมือ ไม่ติดกะทะ จากนั้นก็นำมานวดและเก็บใส่ภาชนะที่มีฝาปิด
Learning Materials for Early Childhood
วันศุกร์ที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่9 วันที่2 กันยายาน 2553
อาจารย์นัดเรียนรวมกันทั้ง 2 กลุ่ม
อาจารย์ให้ส่งงาน ใครยังไม่ครบให้นำมาส่งในคาบหน้า
อาจารย์สั่งงานเพิ่ม
อาจารย์ให้ส่งงาน ใครยังไม่ครบให้นำมาส่งในคาบหน้า
อาจารย์สั่งงานเพิ่ม
ครั้งที่ 8 วันที่ 19 สิงหาคม 2553
อาจารย์ได้พูดถึงการอบรมสื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา และเช็คชื่อคนที่ไม่ได้มา สั่งงานให้ทำสื่อเพิ่ม
วันพฤหัสบดีที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 7 วันที่ 29 กรกฎาคม 2553
วันนี้อาจารย์ได้แจกชีทเรื่องเกมการศึกษา ในชีทจะมีตัวอย่างเกมการศึกษา และอาจารย์ก็ได้ให้ไปทำเกมการศึกษามา คนละ 1 อย่าง แล้วให้วาดหรือถ่ายรูป หรือสแกนลงในบล็อก อาจารย์ก็จะเข้ามาดูและจะคอมเม้นให้ด้วย ว่าใช้ได้หรือไม่ อาจารย์ได้พูดถึงเรื่องที่จะพาไปทัศนศึกษาที่ สัตหีบ ชลบุรี ในวันที่ 17-18 สิงหาคม นี้ ด้วยค่ะ
เกมการศึกษา
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiUKRRlaxw24_2tO3iFBOCDHk7a20qS-RNmMMr-dhaRZ8JyFI4cbfgI8uTyZGXXveJfuF42HNqc8mE5-TFRaucpsnoq3LR5wWXC9i2LLo52OIxMOmSxawOH5dgnO8tNefScy78hdPZyUTsg/s320/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1.jpg)
วิธีการเล่น
-วางรูป ท้องฟ้า แม่น้ำ ถนน ไว้ก่อน(วางแนวไหนก็ได้)
-เลือกรูปยานพาหนะที่ใช้ใน ท้องฟ้า แม่น้ำ ถนน มาวางเรียงต่อกัน
จุดมุ่งหมาย
-เพื่อฝึกการจำแนกด้วยสายตา
-ฝึกประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
-ฝึกการแยกประเภทหรือการจัดหมวดหมู่
-ฝึกการสังเกตและเปรียนเทียบ
เกมการศึกษา
![](https://blogger.googleusercontent.com/img/b/R29vZ2xl/AVvXsEiUKRRlaxw24_2tO3iFBOCDHk7a20qS-RNmMMr-dhaRZ8JyFI4cbfgI8uTyZGXXveJfuF42HNqc8mE5-TFRaucpsnoq3LR5wWXC9i2LLo52OIxMOmSxawOH5dgnO8tNefScy78hdPZyUTsg/s320/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1.jpg)
วิธีการเล่น
-วางรูป ท้องฟ้า แม่น้ำ ถนน ไว้ก่อน(วางแนวไหนก็ได้)
-เลือกรูปยานพาหนะที่ใช้ใน ท้องฟ้า แม่น้ำ ถนน มาวางเรียงต่อกัน
จุดมุ่งหมาย
-เพื่อฝึกการจำแนกด้วยสายตา
-ฝึกประสาทสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
-ฝึกการแยกประเภทหรือการจัดหมวดหมู่
-ฝึกการสังเกตและเปรียนเทียบ
ครั้งที่6 วันที่ 22 กรกฎาคม 2553
เกมการศึกษา คือ เกมการเล่นที่มีความหลากหลาย มีกฏ กติกา ข้อตกลง ในการเล่น
ความสำคัญ
- ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
- รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะของสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กจะได้รับเหมาะสมกับความต้องการของเด็ก ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาทที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
เด็กได้คิดเป็น ทำเป็น กล้าแสดงออก
ความสำคัญ
- ทำสิ่งที่เป็นนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรง จำได้นาน
- รวดเร็ว เพลิดเพลิน เข้าใจง่าย
ลักษณะของสื่อที่ดี
-ต้องมีความปลอดภัย
-ประโยชน์ที่เด็กจะได้รับเหมาะสมกับความต้องการของเด็ก ความสนใจ
-ประหยัด
-ประสิทธิภาพ
หลักการเลือกสื่อ
-คุณภาพดี
-เด็กเข้าใจง่าย
-เหมาะสมกับวัย
-เหมาะสมกับเวลาทที่ใช้
-เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
-ถูกต้องตามเนื้อหา ทันสมัย
เด็กได้คิดเป็น ทำเป็น กล้าแสดงออก
ครั้งที่5 วันที่15กรกฎาคม2553
การนำเสนอสื่อ
วันนี้อาจารย์ให้ทุกคนนำสื่อที่เตรียมมา มานำเสนอหน้าชั้น ว่าสื่อของแต่ละคนเป็นสื่อประเภทไหน มีวิธีการเล่นอย่างไร เหมาะกับเด็กอายุกี่ขวบ
สื่อของข้าพเจ้า เป็นสื่อประเภทเกมการศึกษา เป็นสื่อการจัดประเภทของเครื่องใช้ในบ้าน ว่า สิ่งของอันไหน ควรอยู่ในส่วนไหนของบ้าน สื่อของข้าพเจ้าเหมาะสำหรับเด็กอายุ3 ปีขึ้นไป วิธีการเล่นก็คือ นำรูปภาพสิ่งของแต่ละอย่างมาจัดว่า อันไหน อยู่ในประเภทอะไร เช่น หม้อ กะทะ ตะหลิว ควรอยู่ในห้องครัว แจกันดอกไม้ รูปภาพ โต๊ะรับแขก ควรอยู่ในห้องรับแขก เป็นต้น
วันนี้อาจารย์ให้ทุกคนนำสื่อที่เตรียมมา มานำเสนอหน้าชั้น ว่าสื่อของแต่ละคนเป็นสื่อประเภทไหน มีวิธีการเล่นอย่างไร เหมาะกับเด็กอายุกี่ขวบ
สื่อของข้าพเจ้า เป็นสื่อประเภทเกมการศึกษา เป็นสื่อการจัดประเภทของเครื่องใช้ในบ้าน ว่า สิ่งของอันไหน ควรอยู่ในส่วนไหนของบ้าน สื่อของข้าพเจ้าเหมาะสำหรับเด็กอายุ3 ปีขึ้นไป วิธีการเล่นก็คือ นำรูปภาพสิ่งของแต่ละอย่างมาจัดว่า อันไหน อยู่ในประเภทอะไร เช่น หม้อ กะทะ ตะหลิว ควรอยู่ในห้องครัว แจกันดอกไม้ รูปภาพ โต๊ะรับแขก ควรอยู่ในห้องรับแขก เป็นต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)